• เพื่อนๆสมาชิกและท่านผู้สนใจในบทความทุกท่าน  TPS51225 จัดเป็น PWM อีกเบอร์หนึ่งที่มีคุณสมบัติทาง output ที่เหมือนๆกับไอซีหลายๆ เบอร์ตามที่ทางเว๊ปได้นำเสนอไว้โดยตลอด
  • TPS51225 เป็นไอซี 3.3/5 โวลท์ ที่มีหลักการทำงานคล้ายๆกับ IC 3.3/5 Volt เบอร์อื่นๆ และจะคล้ายๆ กันกับในยี่ห้อเดียวกันคือ Texas Instruments  ดังนั้น ขาต่างๆ จึงสามารถทำความเข้าใจได้ง่าย ถ้าเพื่อนๆได้ติดตามความรู้ของทางเว๊ปตลอดเวลา

TPS51125-First

  • ในลำดับแรกเลย  จะต้องมีขาไฟเลี้ยงก่อนเพื่อให้ไอซีมีไฟเลี้ยงในตัวมัน ซึ่งได้แก่ขา V.in รับไฟตั้งแต่ 5.5-24 โวลท์  ขาในลำดับต่อมาคือ VREG 3.3- 5 V.100mA (There are two sets of 100-mA standby linear regulators which output 5 V and 3.3 V, respectively. The VREG5 pin provides the current for the gate drivers. The VREG3 pin functions as the main power supply for the analog  circuitry of the device. VREG3 is an Always ON LDO and TPS51225C has Always ON VREG5.)  นั่นหมายถึง TPS51225 ,51225B 3.3 VREG 100 mA. จะทำงานตลอดเวลา (Allway On) ส่วน TPS51225C  5 VREG 100mA จะทำงานตลอด

 VREG5 ฟังก์ชั่นการเปลี่ยนแปลงขาจะมีอยู่ 3 เงื่อนไข

  • CH1 PGOOD ภายในอยู่ในระดับสูง
    CH1 ไม่อยู่ในสภาพ OCL
    แรงดันไฟฟ้า VO1 สูงกว่า VREG5-1V
  • กรณีที่เหตุสามสิ่งเกิดขึ้นได้เนื่องจาก
    ภายใน 5-V, ควบคุม LDO ถูกปิด
    การส่งออก VREG5 เชื่อมต่อกับ VO1 โดย MOSFET การเปลี่ยนแปลงภายใน
    VREG3 การป้อนข้อมูลผ่านมีการเปลี่ยนแปลงจาก VIN เพื่อ VO1
  • ส่วนรูปแบบการออกแบบวงจรโดยใช้ IC เบอร์นี้ ก็ไม่มีความแตกต่างกับในตัวอื่นๆ ที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันมากนัก   การที่จะทำให้ชุด  ไฟ  V.out 3.3V.8A. และ 5V.8A. ใช้งานได้นั้น  ก็จะต้องมีคำสั่งมาที่ ขา 6 (En2) กับขา 20(En1) เพื่อสั่งเปิดการทำงานของ(Enable) ของสองชุดไฟนั้น
  • ขาที่ 7 Power good จะมี output ออกให้เราทราบว่า ชุดแรงไฟ 3.3V.และ5 V. กระแส 8 A. พร้อมใช้งานแล้ว  power good นี้จะไม่สามารถตรวจวัดได้  หากชุดไฟสองชุดนั้นออกไม่ครบ(หมายถึงว่า ต้องออกทั้ง 3.3 และ 5 โวลท์ )

TPS51225-1

  • ส่วนคุณสมบัติที่ผู้นำไปใช้งานสามารถออกแบบหรือทำตามแบบได้อีกเรื่องนึง ก็คือการทำให้มีแรงไฟออกสูงกว่า เดิม นั่นคือการออกแบบวงจร Voltage multiply
  • จากรูปเราจะเห็นได้ว่า ที่มุมด้านซ้ายของตัวไอซี(ประมาณขา 13  20 19  )เราจะเห็นไดโอดสี่ตัว ต่อร่วมกับ Condensor 0.1 uF เพื่อจัดเป็นวงจรเพิ่มแรงดัน จะได้แรงดันประมาณ 15โวลท์ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการทำงานได้ครับ

สนใจเรียน หรือส่งซ่อมแผงวงจรโน๊ตบุ๊คซ่อม ได้ที่ https://www.facebook.com/RepairNotebook.TH/